วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

การทำ project ที่ 9



1. เปิด folderของตนเองไว้

2. หาภาพต่างๆที่ตนเองสนใจจำนวน12ภาพ แล้ว save ไว้ใน floder

3. เปิด Lviewpro ตั้งไว้ แล้วนำภาพทั้ง12ภาพเข้า Lviewpro แล้วจัดการตั้งค่าภาพทั้ง12ภาพ

4. เปิด Microsoft word 2003 แล้วสร้างตารางจำนวน12 ตาราง

5. จัดตารางให้เท่ากัน แล้วนำภาพทั้ง 12ภาพมาใส่ไว้ในตารางทั้ง 12ตาราง

6. พิมพ์ข้อความใต้ภาพของแต่ละภาพแล้วจัดเรียงภาพทั้งหมดให้เท่าๆกัน

7. save ภาพทั้ง 12ภาพ ไว้ใน floder ที่ตั้งไว้ โดย ตั้งชื่อเรื่องที่จะ save แล้ว save แบบ web pade

8. เปิดหน้าใหม่ ใน word 12หน้า แล้วนำภาพทั้ง12ภาพที่เตรียมไว้มาใส่ไว้ในแต่ละหน้าจนครบ โดยแต่ละภาพตอ้งตรงกับภาพทั้ง12ภาพที่อยู่ในตาราง

9. ภาพ 1ภาพต้อง save 1ครั้ง โดย save แบบweb pade จนครบทั้ง12ภาพ โดย saveไว้ใน floder ที่เตรียมไว้

10. พร้อมกับเขียนข้อความไว้ด้านล่างภาพของแต่ละภาพในแต่ละหน้าให้ตรงกับข้อความภาพในตารางทั้ง12ตาราง พร้อมกับบรรยายภาพ

11. กลับไปที่ตารางภาพทั้ง12ภาพ โดยคลุมข้อความที่เขียนไว้ในภาพที่1แล้วไปที่ Insert แล้วไป hyperlinkc แล้วไปคลิกข้อความให้ตรงกับภาพที่1แล้ว save แล้วทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนครบทั้ง 12ภาพ

12. ไปที่ภาพทั้ง 12ภาพ คลุมข้อความในภาพที่1 แล้วไป Insert ไป hyperlink แล้วไปที่ชื่อเรื่องที่ตั้งไว้ในตาราง แล้ว save และทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนครบทั้ง 12ภาพ

13. หลังจากนั้น save งานทุกอย่างไว้ เป็นอันว่าเสร็จ

วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2551

บทความสำหรับเด็ก


ดูทีวีมากเสี่ยงความดันสูง
การดูทีวีมากเกินไป นอกจากจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องอ้วนแล้ว ยังอาจทำให้ความดันโลหิตขึ้นด้วย โยทีมนักวิจัยอเมริกา รายงานว่า เด็กอ้วยที่ดูทีวีวันละ 4 ชั่วโมงขึ้นไปมีโอกาสที่จะเกิดภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่าเด็กที่ดูทีวีน้อยกว่า 2 ขั่วโมงต่อวันถึง 3 เท่า
" เราพบว่ามีความสัมพันธ์กันระหว่างระยะเวลาในการดูทีวีกับปัญหานำหนักตัวและความดันโลหิตสูงในเด็ก " ดร. เจฟฟรีย์ ชวิมเมอร์ แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย แซนดิเอโก กล่าว
"มีงานวิจัยหลายชิ้นที่คอนเฟิร์มประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างการดูทีวีกับโรคอ้วยในเด็ก แต่นี่เป็นครั้งแรกที่ศึกษาพบผลกระทบของการดูทีวีกับภาวะความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก "
ดร.ชวิมเมอร์และทีมวิจัยได้ศึกษาเด็กกลุ่มตัวอย่างวัย 4-17 ปี ที่มาใช้บริการคลีนิครักษานำหนักตัวระหว่างปี 2003 -2005 จำนวน 546 ราย เด็กแต่ละคนจะถูกบันทึกส่วนสูง นำหนักตัว นำหนักมวลรวมหรือ BMI และการวัดความดัน ร่วมกับการสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูทีวีจากตัวเด็กกลุ่มตัวอย่างและพ่อแม่ผู้ปกครอง
ทั้งนี้ เด็กที่มีค่า BMI สูงกว่า 95 เปอร์เซนไทล์แยกตามอายุและเพศ จะถือว่าอยู่ในเกณฑ์อ้วน ซึ่งเด็กกลุ่มตัวอย่างนี้มีค่า BMI เฉลี่ย 35.5 ( ในผู้ใหญ่ ค่า BMI เท่ากับหรือมากกว่า 30 จัดว่าอ้วน)
ผลการศึกษาพบว่า เด็กที่ดูทีวีวันละ 2-4 ชั่วโมงราว2.5 เท่า ขณะที่เด็กที่ดูทีวีวันละ 4 ชั่วโมง ขึ้นไปนั้นจะเป็นความดันโลหิตสูงมากกว่า3.3 เท่า ดังนั้น นักวิจัยจึงแนะนำว่าจำเป็นอย่างยิ่งที่พ่อแม่ผู้ปกครองควรจะจำกัดเวลาดูทีวีของลูกอย่างเข้มงวดเสียที โดยเฉพาะเด็กมีปัญหาโรคอ้วนหรือความดันโลหิตสูงอยู่แล้ว
ดร.ชวิมเมอร์ยังกล่าวเพิ่มเติมด้วยว่า มีงานศึกษาบางชิ้นพบว่าการเปลี่ยนแปลงเวลาในการดูทีวีจะสามารถช่วยให้นำหนักตัวลดลงได้ด้วย โดยที่ไม่มีเรื่องของการบริหารร่างกายเข้ามาเกี่ยวข้อง.

ประวัติส่วนตัว